TRAINING
หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้บริหารระดับสูง
โครงการร่วมทุนรัฐและเอกชน เพื่อความยั่งยืน
จัดโดย PPP Leadership Academy
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
-
เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public – Private Partnerships: PPPs) รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในระยะต่าง ๆ ภายใต้การดำเนินโครงการฯ
-
เพื่อปรับกรอบแนวคิด วิธีการจัดทำโครงการ PPPs ให้เข้ากับยุคสมัย
-
เพื่อเตรียมความพร้อมด้านกฎหมาย การกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการร่วมลงทุนได้อย่างครบถ้วน สามารถเปรียบเทียบต้นทุน ความเสี่ยง และความคุ้มค่าในการดำเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
-
เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้บริหารระดับสูงในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอันเกิดจากการดำเนินโครงการ PPPs
-
เพื่อจัดเตรียมการสืบทอดตำแหน่งการบริหารงานเพื่อความสำเร็จของโครงการที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหลายปี
-
เพื่อเสริมสร้างความรู้จากการศึกษาดูงานโครงการ PPPs ต้นแบบ อันจะส่งผลให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้เท่าทันถึงพลวัตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
โครงสร้างหลักสูตร
-
Public Private Partnerships (PPPs) : A Catelyst for Thailand and the World Economic Growth
-
PPPs Consept. Benefits and Limitations
-
Legal Knowledge, Guideline, Principles for Dispute Resolution in Public – Private Partnerships Contracts
-
Accelerating Global and Digital Transformation with PPPs, Megaprojects and Cross-Border Projects
-
PPPs for Sustainability, PPPs investment and Corporation Platforms
-
PPPs Leader lab, Panel Discussion and Group Activities
-
PPPs Field Trips
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมการอบรม
-
ค่าธรรมเนียมการอบรม และการศึกษาดูงานโครงการ PPPs ต้นแบบในประเทศ ท่านละ 90,000 บาท
-
การศึกษาดูงานโครงการ PPPs ต้นแบบ ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (กิจกรรมเสริมการอบรม) ท่านละ 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) โดยผู้เข้ารับการอบรมสามารถเลือกเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วมศึกษาดูงานในหัวข้อนี้ ตามความประสงค์ รวมเป็นเงิน 140,000 บาท
-
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางศึกษาดูงานต่างประเทศ สามารถเบิกจ่ายจากหน่วยงานต้นสังกัดได้ กรณีที่หน่วยงานต้นสังกัดมีงบประมาณสนับสนุน
-
ในกรณีเป็นข้าราชการ/พนักงานราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ตรวจสอบข้อมูลการใช้หนังสือเดินทางราชการ (เล่มสีน้ำเงิน) จากหน่วยงานต้นสังกัด หากไม่มีหรือมีอายุไม่ถึง 6 เดือนนับจากวันที่เดินทาง ให้ผู้เข้ารับการอบรมยื่นคำร้องขอทำหนังสือเดินทางราชการด้วยตนเอง
-
-
สำรองที่นั่งภายในวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม 2566
-
Line Official: @FisPRITraining
ระยะเวลาและสถานที่จัดอบรม
-
ระหว่างวันที่ 1-29 มิถุนายน 2566 ระยะเวลาการอบรมรวม 9 วัน
-
การเรียนการสอนในชั้นเรียน จำนวน 5 วัน
-
การศึกษาดูงานโครงการ PPPs ต้นแบบในประเทศ จำนวน 1 วัน
-
การศึกษาดูงานโครงการ PPPs ต้นแบบ ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (กิจกรรมเสริมการอบรม สามารถเลือกเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วมศึกษาดูงานในหัวข้อนี้ ตามความประสงค์) ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน
-
สถานที่อบรม ณ โรงแรมระดับ 4 – 5 ดาวในเขตกรุงเทพมหานคร
หลักสูตรนักการคลังมืออาชีพ (นคอ.) รุ่นที่ 13
จัดโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
-
สร้างความรอบรู้เกี่ยวกับทิศทางการดำเนินนโยบายการคลังของประเทศ ทั้งในด้านนโยบาย รายได้ นโยบายรายจ่าย นโยบายหนี้สาธารณะ และนโยบายทรัพย์สิน
-
สร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ
-
เพื่อเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายการคลังภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและพลวัตของภูมิภาค
-
บูรณาการความรู้และแผนการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับประเทศไทย
-
สร้างการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างผู้บริหารระดับกลางของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงผู้บริหารระดับกลางจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และเอกชนอื่น ๆ ที่เข้าร่วมอบรมในหลักสูตรฯ
ระยะเวลาและสถานที่จัดอบรม
-
วันอังคารที่ 9 – วันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม 2566 (รวม 11 วัน)
-
การเรียนการสอนและการวางแผนกลยุทธ์ ระยะเวลา 9 วัน ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์ กรุงเทพฯ
-
การศึกษาดูงาน 2 ครั้ง (ไป-กลับ) ระยะเวลา 2 วัน
-
ครั้งที่ 1 วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ บริษัท สยาม ไวเนอรี่ จำกัด (โรงงานสมุทรสาคร) จังหวัดสมุทรสาคร
-
ครั้งที่ 2 วันพุธที่ 24 พฤษภาคม 2566 ณ คูโบต้า ฟาร์ม จังหวัดชลบุรี
-
-
เวลา 9.00 – 16.00 น.
-
ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์ กรุงเทพฯ
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมการอบรม
-
ค่าธรรมเนียมท่านละ 63,000 บาท ครอบคลุมสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการแก่ผู้เข้าอบรมดังนี้
-
จัดเตรียมบริการการเดินทางศึกษาดูงานทางแบบไป-กลับ พร้อมอาหารว่างเช้า-บ่าย บริการบนรถ และอาหารกลางวัน
-
เสื้อสูทลำลอง (Blazer) กระเป๋าใส่เอกสาร
-
USB บันทึกเอกสารประกอบการเรียนการสอน ให้แก่ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละท่าน
-
พิธีมอบประกาศนียบัตรสำหรับผู้ผ่านการอบรม
-
จัดเตรียมชุดตรวจ ATK ผู้เข้ารับการอบรมทุกท่านตรวจก่อนเข้าร่วมหลักสูตรฯ สัปดาห์ละ 1 ชิ้น
-
-
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมภายในวันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2566
-
Line Official: @FisPRITraining
เนื้อหาของหลักสูตร
-
หมวดการคลังกับการพัฒนาประเทศ (7 วิชา 21 ชั่วโมง)
-
นโยบายการเงินการคลังของรัฐกับการรักษาเสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทย
-
แนวทางการปฏิรูปนโยบายภาษีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน
-
การบริหารและการจัดทำงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์
-
ความยั่งยืนของหนี้สาธารณะและทางเลือกของรัฐบาล
-
นโยบายการบริหารทรัพย์สินและการบริหารจัดการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มที่ราชพัสดุ
-
นโยบายการบริหารทรัพย์สินและการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ การสร้างมูลค่าทรัพย์สิน
-
แนวทางการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
-
-
หมวดบูรณาการและการดำเนินนโยบายการคลัง (3 วิชา 9 ชั่วโมง)
-
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ
-
การพัฒนาฐานข้อมูล "Big Data" เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม
-
การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership) ทางออการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ
-
-
หมวดบริหารจัดการเศรษฐกิจภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก (3 วิชา 9 ชั่วโมง)
-
วิเคราะห์ "จีน-สหรัฐ" ในวันที่ไร้มหาอำนาจโลกกับผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย
-
ESG เทรนด์ใหม่ของการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
-
การเตรียมความพร้อมนักการคลังเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และแนวทางปกป้องข้อมูล
-
-
หมวดภาวะผู้นำกับการบริหารงานองค์กร (3 วิชา 12 ชั่วโมง)
-
บริหารคนอย่างไรให้ Lean และ Agile กลายเป็นองค์กรตัวเบา
-
กฎหมายปกครอง ความรับผิดทางละเมิดและแพ่งกับการบริหาร
-
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
-
-
หมวดการเสริมสร้างประสบการณ์นักการคลังมืออาชีพ (23 ชั่วโมง)
-
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (3 ชั่วโมง)
-
ศึกษาดูงานแบบไป-กลับ จำนวน 2 ครั้ง (20 ชั่วโมง)
-
หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์ รุ่นที่ 5
Starategy Management Program
จัดโดย สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
วัตถุประสงค์
-
พัฒนาศักยภาพด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ในทุกระดับ โดยมุ่งเน้นให้เกิดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการฝึกอบรมทั้งในภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการสัมภาษณ์เก็บข้อมูล
-
ฝึกวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ได้อย่างเป็นระบบ
-
สร้างความเข้าใจด้านการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ จากวิทยากรผู้มีประสบการณ์ตรง
-
สร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างนักยุทธศาสตร์ของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงนักยุทธศาสตร์จากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจและเอกชนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อันจะนำไปสู่ความร่วมมือและดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในอนาคต
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมการอบรม
-
ค่าธรรมเนียมท่านละ 62,000 บาท ครอบคลุมสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการแก่ผู้เข้าอบรมดังนี้
-
จัดเตรียมบริการการเดินทาง ที่พัก และอาหารสำหรับการศึกษาดูงานในประเทศ
-
เอกสารประกอบการอบรม แฟ้มใส่เอกสาร
-
วัสดุอุปกรณ์ทุกประเภทตลอดการฝึกอบรมและจัดทำกิจกรรมแบ่งกลุ่ม
-
อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (USB) พร้อมไฟล์เอกสารประกอบการอบรม
-
กระเป๋าผ้าสำหรับใส่เอกสาร ท่านละ 1 ใบ
-
ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ท่านละ 5 ชุด
-
ทำเนียบรุ่นแบบรูปเล่ม และแบบไฟล์
-
ประกาศนียบัตรพร้อมภาพถ่ายเดี่ยวและกลุ่ม
-
-
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมภายในวันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม 2566
-
Line Official: @FisPRITraining
เนื้อหาหลักสูตร
-
การอบรมภาคทฤษฎีและอภิปราย (6 ชั่วโมง)
-
หลักการ กระบวนการ และเครื่องมือในการวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
-
-
การจัดทำกิจกรรมระดมสมองรายกลุ่มและอภิปราย (24 ชั่วโมง)
-
การวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ
-
การวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการลงทุนที่สนับสนุนการลดคาร์บอน
-
การวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางการเงินเพื่อสนับสนุนการลดคาร์บอน
-
การวางแผนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับหน่วยงาน/องค์กร (เอกชน)
-
-
การศึกษาดูงานภายในประเทศ (39 ชั่วโมง)
-
การจัดทำรายงานการศึกษา และการนำเสนอผลงาน (11 ชั่วโมง)
ระยะเวลาและสถานที่จัดอบรม
-
ระหว่างวันที่ 7 สิงหาคม – 4 กันยายน 2566 (ระยะเวลา 9 วัน)
-
การอบรมภาคทฤษฎี (1 วัน)
-
จัดทำกิจกรรมระดมสมองรายกลุ่มและอภิปราย (4 วัน)
-
การศึกษาดูงานภายในประเทศ (3 วัน 2 คืน)
-
จัดทำรายงานการศึกษา พิธีปิดและนำเสนอผลงาน (1 วัน)
-
-
เวลา 09.00 - 16.00 น.
-
ณ โรงแรมระดับ 3-4 ดาวในกรุงเทพมหานคร
SEMINAR
สัมมนาวิชาการออนไลน์
เจาะกลยุทธ์รับมือภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างอัพเดท ปี 2566
พร้อมรับมือการเพิ่มราคาประเมินที่ดิน และเก็บภาษีที่ดินฯ เต็มอัตรา
จัดโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมการสัมมนา
-
ค่าธรรมเนียมท่านละ 5,900 บาท
-
สมัคร 1 ท่าน ฟรี 1 ท่าน สำหรับการสมัครล่วงหน้าก่อนวันศุกร์ที่ 17 มีนาคม 2566
-
สำรองที่นั่งและชำระค่าธรรมเนียมภายในวันศุกร์ที่ 31 มีนาคม 2566
-
Line Official: @FisPRITraining
ระยะเวลาและรูปแบบการสัมมนา
-
สัมมนาวันจันทร์ที่ 10 เมษายน 2566
-
สัมมนาในรูปแบบ Virtual Event ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting
-
เวลา 9.00 – 16.00 น.
วัตถุประสงค์
-
เพื่อให้ความรู้ที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับอัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่จะจัดเก็บในปี 2566
-
เพื่อให้ความรู้และเพิ่มประสิทธิภาพแก่บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถคำนวณและจัดเก็บภาษีได้จริงตามเวลาที่กฎหมายกำหนด อันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งทางด้านการเงินการคลังให้กับท้องถิ่น
-
เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่ผู้เสียภาษี และประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนการประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์ของกรมธนารักษ์ การคำนวณภาษีที่ดิน การขอคืนเงินภาษี บทลงโทษและการอุทธรณ์
-
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดการที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการบริหารภาษีที่ดินให้มีความยืดหยุ่นได้ดียิ่งขึ้น
เนื้อหาหลักสูตร
-
ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัพเดทปี 2566
-
แนวทาง ขั้นตอน ระเบียบ วิธีปฏิบัติและหลักเกณฑ์
-
ฐานภาษี ผู้เสียภาษีและผู้จัดเก็บภาษี
-
ประเภท เงื่อนไขและหลักเกณฑ์ในการยกเว้นมูลค่าของฐานภาษีของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-
Update อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่จะจัดเก็บในปี 2566
-
การดูแลผลกระทบ
-
-
กระบวนการประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์
-
การจัดเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์
-
การสำรวจข้อมูลภาคสนาม
-
หลักเกณฑ์ วิธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์
-
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) กับการวิเคราะห์ราคาประเมินอสังหาริมทรัพย์
-
การบริหารจัดการข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่
-
วิธีตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน
-
การคิดค่าเสื่อมราคาของสิ่งปลูกสร้าง
-
-
ขั้นตอนการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัพเดทปี 2566
-
การเตรียมฐานข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-
การออกสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-
การจัดทำรายการบัญชีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-
การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์
-
การจัดทำบัญชีราคาประเมิน
-
การคำนวณภาษี
-
การแจ้งประเมิน ชำระ ผ่อนชำระภาษี
-
การคัดค้านและอุทธรณ์การประเมินภาษี
-
-
เครื่องมือทางการเงินในการบริหารสินทรัพย์เพื่อการบริหารภาษีที่ดินให้มีความยืดหยุ่น
-
Property Backed Loan ตัวช่วยแปลงที่ดินเป็นเงินลงทุนการบริหารจัดการทรัพย์สิน
-
การแปลงที่ดินเป็นหุ้น
-